วันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2564
วิธีการบริการจัดการ คอนโดมิเนียม และซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน การดำเนินการ โดย ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี กรรมการบริหารรับมอบอำนาจการจัดการ
โครงการซีเนียร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐ ภาคเอกชน(โมเดล ทุก โครงการ)
วิธีการบริการจัดการ คอนโดมิเนียม และซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน
การดำเนินการ โดย ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี กรรมการบริหารรับมอบอำนาจการจัดการ ที่ดินที่ทำการ โครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ที่ดำเนินการโดยการทำข้อตกลงการทำงานร่วมกันแล้วเพื่อพัฒนาการก่อสร้าง
ดำเนินการในโฉนดที่ดินเพื่อสร้าง โครงการคอนโดมิเนียม และซีเนียร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน เพื่อผู้ยากไร้ประชาชนชาวไทยและสมาชิกสหกรณ์ ต่างๆในจังหวัดฯ ข้าราชการและข้าราชการวิสาหกิจในจังหวัดฯ และประชาชนที่พักอาศัยในประเทศไทยตามนโยบายรัฐบาล หรือประชาชนที่รัฐบาลส่งเสริมให้คนมีรายได้มากที่ถาวร เข้าพักอาศัยในประเทศไทยได้ ลักษณะของโครงการดังนี้ มีทั้งบ้านเดี่ยวและอาคารชุด จัดให้มีความเหมาะสมเพื่อการอยู่อาศัยและการให้บริการให้ถูกวิธีการบริการ เช่นโครงการ นำร่องนี้ จำนวนอาคาร 11 อาคาร ต่อโครงการดังนี้
จำนวน 880 ห้อง ( 11 อาคาร ๆละ 80 ห้อง)และเสนอแผนงานการก่อสร้าง 77 จังหวัด
1. สำนักงาน ตึก 11 จำนวน 80 ห้อง หมายเลข 801-880 เป็น สำนักงานให้บริการ ดังนี้
ชั้นที่ 1
1. ห้องพยาบาล 30 ตารางเมตร
2. ห้องร้านสะดวกซื้อ 60 ตารางเมตร
3. ห้องธนาคาร บริการการเงิน 30 ตารางเมตร
4. ห้องประชาสัมพันธ์-การตลาด 30 ตารางเมตร
5. ห้องธุรการ-ทะเบียน 30 ตารางเมตร
6. ห้องการเงิน-การบัญชี 30 ตารางเมตร
7. ห้องกิจการสำนักงาน 30 ตารางเมตร
8. ห้องพัสดุ 30 ตารางเมตร
9. ห้องบริการต้อนรับ 30 ตารางเมตร
ชั้นที่ 2
1. ห้องธุรการ-พยาบาลโรคไต 30 ตารางเมตร
2. ห้องวัสดุและอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ 30 ตารางเมตร
3. ห้องฟอกไต 210 ตารางเมตร
ชั้นที่ 3
1. ห้องกรรมการบริหาร 30 ตารางเมตร
2. ห้องรองกรรมการ การเงิน 30 ตารางเมตร
3. ห้องรองกรรมการ อำนวยการ 30 ตารางเมตร
4. ห้องกรรมการ ฝ่ายปฏิบัติการ 30 ตารางเมตร
5. ห้องประชุม 90 ตารางเมตร
6. ห้องบริหารงานบุคคล 30 ตารางเมตร.
7. ห้องนันทนาการ 30 ตารางเมตร
ชั้นที่ 4-8
ห้อง เนอส์ซิ่งโฮม
1. ห้องสูท แบบ B พักบริการ ตึกที่ 1 - 5 จำนวน 400 ห้อง ห้องละ 30 ตารางเมตร ห้องที่ 1-400
2. ห้องธรรมดา แบบ A พักบริการ ตึกที่ 6 - 10 จำนวน 400 ห้อง ห้องละ 30 ตารางเมตร ห้องที่ 401-800
2. วิธีการในปรับปรุงโครงการ คอนโดมิเนียม และ ซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ที่ดินในโครงการเดิมปรับภูมิทัศน์ ให้เหมาะสมกับการให้บริการผู้สูงอายุและ ใส่กิจกรรมผู้สูงอายุ 5ประเภท ดังนี้
2.1กิจกรรมทางสังคม
- กิจกรรมลีลาศ
- กิจกรรมรำไทย
- กิจกรรมร้องเพลง
- กิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
- กิจกรรมไหว้พระเก้าวัด
- กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
- กิจกรรม วันผู้สูงอายุ
2.2กิจกรรมทางสุขภาพ
- กิจกรรมฟิตเนส
- กิจกรรมหมากรุกสากล-ไทย
- กิจกรรมนวดแผนไทย
- กิจกรรมกีฬาผู้สูงวัย
- กิจกรรมเต้นออกกำลังกาย
- กิจกรรมธาราบำบัด
- กิจกรรมกีฬาเปตอง
- กิจกรรมกีฬา-ไทย-จีน
2.3กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
- กิจกรรมส่งเสริมรายได้-เย็บปักถักร้อยและจักสาน
- กิจกรรมส่งการเรียนรู้และแชร์ประสบการณ์
- กิจกรรม งานคหะกรรม
- กิจกรรมนวัตกรรมผู้สูงอายุ
2.4กิจกรรมสภาพแวดล้อม
- บริการลิฟต์ ผู้สูงวัย
- บริการทางลาด ยูดี ผู้สูงอายุ
- บริการราวจับทางเดิน ยูดี
- บริการทางเดินเท้าเพื่อผู้สูงอายุ
- ห้องน้ำเพื่อผู้สูงอายุ
2.5กิจกรรม บริการสาธารณะ จัดให้มีเพื่อเสริมการบริการเพิ่มประสิทธิภาพการบริการที่ดี
- บริการธนาคารรับฝาก-ถอน
- บริการท่องเที่ยว-ไทยและนอกประเทศ
- บริการรถรับส่งสนามบินและนอกสถานที่
- บริการรถและการแพทย์ ฉุกเฉิน โดย รพ.ศรีวิชัย
- บริการคลินิก ในโครงการ
- บริการศูนย์ไตเทียม
- บริการร้านอาหารไทย-ต่างประเทศ
- การบริการร้านกาแฟ
- บริการร้านซักรีด
- บริการร้านนวดแผนไทย
- บริการร้านอินเตอร์เน็ต
- บริการร้านเสื้อผ้า
- บริการร้างหนังสือ
- บริการร้านสะดวกซื้อ
3. จัดให้มีบริการสาธารณูปโภค
- จัดให้มี ทางเท้าและบริการ ยูดี ทางเดิน ในอาคารทุกอาคาร
- จัดให้มีลิฟต์ เพื่อผู้สูงอายุ ทุกตึกที่ให้บริการ
- จัดให้มีลานกิจกรรม ในร่มจะจัดตั้งที่ถนนโครงการเพื่อทำกิจกรรมในร่มได้ 2 อาคาร
- จัดให้มีสระน้ำในพื้นที่ส่วนกลางเพิ่มไว้บริการผู้สูงวัยไว้ผ่อนคลาย
- จัดให้มีลานกีฬาผู้สูงอายุ เช่นเปตอง ลานลีลาศ
- จัดให้มีป้ายและป้อมรักษาความปลอดภัย 24 ชั่วโมง
- จัดให้มีที่ตั้งสำนักงานอาคารประสานงานโครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์
- จัดหาพื้นที่ทำกิจกรรมให้ครบในสี่ประเภท ในโครงการเท่าสำคัญๆ
- บริการจัดเก็บพร้อมคิดค่าบริการการจัดเก็บในค่าบริการรายเดือน
- บริการ รักษาความปลอดภัยระบบคีย์การ์ดระบบตรวจเข้าออกของแต่ละอาคาร
- บริการพนักงานดูแลอำนวยความสะดวกทั่วไปและปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในอัตรา1-10 ทุกชั้นทุกตึก 24 ชั่วโมง
4. การกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
บริการจัดเก็บโดย ทางโครงการจะจัดเก็บพร้อมจัดหาให้สมาชิกได้รับความสะดวกและให้ทางนิติบุคคลรับผิดชอบต่อไป โดยทางสมาชิกเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน
5. จัดให้มีบริการสาธารณะ
- จัดให้มี รปภ.บริการ 24 ชั่วโมง ตามสมควร
- จัดให้มีกล้องและทีวีวงจรปิดบริการเพื่อความปลอดภัย
- การกระจ่ายกระแสไฟฟ้า-น้ำประปา จัดให้มีการจ่ายกระแสไฟฟ้า-น้ำ ไฟฟ้าส่องสว่าง
- จัดให้มีพนักงานประจำโครงการบริการ ตามความเหมาะสม
- จัดให้อาคารสระว่ายน้ำ
- จัดให้มีพนักงานจัดเก็บขยะในโครงการ
- ในการให้บริการต่างๆบริษัทมีความจำเป็นต้องคิดค่าบริการในการให้บริการในส่วนนี้ เป็นรายเดือน
-
6. แผนงานโครงการและระยะเวลาการบำรุงรักษา สาธารณูปโภค
- บริษัท ฯโดยจัดหา ช่างและวิศวกรที่มีความชำนาญในการตรวจเช็คในการใช้บำรุงประจำปี
- บริษัทฯจะตรวจเช็คและปรับปรุงภูมิทัศน์ทุกๆ 3 ปีและตามความเหมาะสมแก่ความจำเป็น
-
7. วิธีการจำหน่ายบัตรสมาชิกแรกเข้าและให้บริการห้องพัก มีค่าส่วนกลางตามตารางแนบท้าย
บริษัทฯ จะจำหน่ายบัตรสมาชิกแรกเข้าพร้อมห้องพักที่ พื้นที่ 30 ตรม.ดังนี้
7.1 บัตรสมาชิก แบบ B ห้องสูท 400 ห้อง จำนวน 800 ราย
- ค่าห้อง 860,000 บาท ถึง 10,000,000 บาท
- ค่าบริการตลอดชีพ 150,000 บาท – 1,000,000 บาท ต่อราย
7.2 บัตรสมาชิก แบบA ห้องธรรมดา 400 ห้องจำนวน 800 ราย
- ค่าห้องเริ่มที่ 8600,000 – 5,000,000 บาท
- ค่าบริการ 15 ปี รวม 150,000- 500,000 บาท
7.3 บัตรสมาชิกบริการฟรี ห้องรวมพักฟื้นจำนวน 300 ราย
- ค่าบัตรแรกเข้า สำหรับผู้มีความพร้อมและเป็นสมาชิก 250,000-500,000 บาท
- ค่าบริการ รายเดือนสำหรับผู้มีความพร้อมและเป็นสมาชิก 12,000- 150,000 บาท
- กำหนด เวลาการเริ่มดำเนินการและกำหนดแล้วเสร็จ ดังนี้
-
บริษัทฯจะปรับปรุงให้แล้วเสร็จในระยะเวลาการทำงานในเวลา 3 ปี นับจากได้รับอนุญาตประกอบการและการสนับสนุนโครงการในภาครัฐของกรมกิจการผู้สูงอายุ
8. สัญญาจะซื้อจะขาย จะปฏิบัติตามเงื่อนไขของ กรมกิจการผู้สูงอายุเป็นหลักในการปฏิบัติ
ลงชื่อผู้ นาย สมัย เหมมั่น (นาย ชยณัฎฐ์ แสงมณี ) กรรมการฯ
บริษัท ซี.เอช.บี การช่าง จำกัดและบริษัท เอเอทีแอล กรุ๊ป จำกัด
ประธานโครงการ
โครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน
เพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้
(ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
โครงการนี้จัดทำเพื่อกลุ่มเป้าหมายของสมาชิกที่ชัดเจน คือเพื่อสมาชิกสหกรณ์ฯและประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ ข้าราชการบำนาญทุกหน่วยงานพร้อมด้วยประชาชนทั่วไปที่มีความประสงค์ที่จะเข้าอยู่อาศัยในโครงการที่บริการ แบบครบวงจร ในการให้การบริการ แบบอย่างซีเนี่ยร์คอมเพล็ก ซึ่งได้ออกแบบให้มีความทันสมัย และในโครงการมีการบริการ ดังเช่น โครงการรักษาสุขภาพ และ นันทนาการ 20 กิจกรรม ให้บริการสำหรับผู้สูงวัย ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุน และได้รับการสนับสนุนการประกอบกิจการในกิจการของรัฐ ตาม นโยบายของภาครัฐ ประจำปี 2558
กรมกิจการผู้สูงอายุ ได้ออกหนังสือการสนับสนุน ที่ 4040/3149 และได้ทำหนังสือถึงสำนักงานการเคหะแห่งชาติ เลขที่ 4040/ 14323 เพื่อร่วมกันหาแนวทางการทำงานร่วมกันในการลงทุนในกิจการของรัฐภาคเอกชน พร้อมทั้งนี้กรมกิจการผู้สูงอายุ ได้มอบคู่มือการวิธีการให้บริการ ตามนโยบายภาครัฐที่ได้มาตาฐานในการทำงาน ตาม พรบ.ส่งเสริมการลงทุน พร้อมรายชื่อประชาชนที่มีความต้องการจะอยู่อาศัยในโครงการของภาครัฐ ที่ลงทะเบียนไว้กับ ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการทางสังคมผู้สูงอายุวาสนะเวศม์ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา และ สำนักงานกิจการ ที่อยู่ในการดูแลของ กรมกิจการผู้สูงอายุ ของประเทศไทย เชิญประชุมร่วมกัน ตามเอกสารแนบท้ายมานี้
ดร. ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้างและพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจำนวนมาก เนื่องด้วยบริษัทฯ เป็นผู้ประกอบกิจการในจังหวัดนครปฐม และได้เล็งเห็นว่ารัฐบาลกำลังผลักดันและดำเนินโครงการประชารัฐด้านต่างๆเป็นจำนวนมาก บริษัทฯจึงมีความประสงค์ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยเฉพาะด้านโดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงวัย
จึงเขียนโครงการ ซี่เนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐ ภาคเอกชน เพื่อลงทุนในกิจการของรัฐ ตาม พรบ.ส่งเสริมการลงทุน ปี 2558 และได้ร่วมประชุม ศึกษาหาแนวทางการลงทุนและขอสนับนุการลงทุนในกิจการของภาครัฐ 2558 ต่อ หน่วยงานของรัฐ ผ่านกรมกิจการผู้สูงวัย ผ่านท่าน อธิบดี กรมกิจการผู้สูงอายุ ในเวลานั้น และได้รับหนังสือตอบรับตลอดจน รายชื่อผู้มีความประสงที่จะอยู่อาศัยในโครงการดังกล่าว ซึงมีจำนวนมาก และได้ขอการสนับสนุนจำนวนสมาชิกที่สนใจต่อโครงการ ซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐ ภาคเอกชน ถึงสำนักงานสหกรณ์บริการต่างๆและสหกรณ์ออมทรัพย์ครู จังหวัดต่างๆและประชาชนในพื้นที่ตามนโยบายของรัฐบาลที่มีความประสงค์จะเข้าพักอาศัยได้ ในพื้นที่ โครงการ เพื่อเป็นการวางแผนการอยู่อาศัย ในวัยชราที่สามารถฟื้นฟูคุณภาพชีวิตที่ดีถูกลักษณะการอยู่อาศัยที่ดี ตามนโยบายของรัฐบาล ปี 2558
ลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน
ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 350- 880 unit
ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ
ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 800-1,600 คน
บริหารการจัดการโดย ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี ผู้ได้รับนโยบายจากกระทรวงพัฒนาสังคมฯกรมกิจการผู้สูงอายุ พร้อมคู่มือการบริการ ที่ทันสมัยและพร้อมให้บริการแบบมืออาชีพ ภาคเอกชนร่วมกันเปิดโครงการก่อสร้างบ้านเพื่อผู้สูงวัยหลังเกษียณอายุ ของสมาชิกครูและข้าราชการบำนาญ
การจัดการโครงการมีการลงทุนการก่อสร้าง
มีหลักการคัดเลือกสรรหาที่ดินในการก่อสร้างดังนี้
1.การใช้พื้นที่ของรัฐบาลโดยการ ขอใช้พื้นที่ของรัฐบาลผ่าน กรม ธนารักษ์,ที่ดินราชพัสดุ,ที่ดินของหน่วยงาน กรมป่าไม้ เพื่อการเช่าระยะยาวทำโครงการ
2.การใช้พื้นที่ ของสำนักงานการเคหะแห่งชาติหรือ พื้นที่นิติบุคคล เช่น สหกรณ์บริการต่างๆหรือสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ โดยการขอจัดซื้อระหว่างหน่วยงานโดยการทำข้อตำลงต่างๆร่วมกัน
3.การใช้ที่ดิน ของเอกชนโดยการจัดซื้อที่ดินทำโครงการดังกล่าว
แผนงานการก่อสร้าง แบ่งเป็น 5 ระยะ
ระยะที่ 1 แผนงาน สร้างโมเดล โครงการ 6 จังหวัด ดังนี้
1.จังหวัดชลบุรี จำนวน 880 หน่วย ตำบล หินกอง อำเภอ เมือง จังหวัด ชลบุรี (โครงการซีเนี่ยร์คอทเพล็กซ์ประชารัฐ ภาคเอกชน เมืองชลบุรี ทะเลเพิ่มสุข ) บริหารงานการก่อสร้างโดย บริษัท เอเอที แอล กรุ๊ป จำกัด โดย ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี ประธานโครงการและกรรมการบริหารฯและกรรมการบริหารบริษัทฯ มายโอโซไทยเพิ่มสุข
2.จังหวัด เพชรบูรณ์ จำนวน 800 หน่วย อำเภอ หล่มสัก , อำเภอ หล่มเก่า , อำเภอ เขาค้อ จังหวัด เพชรบูรณ์ (ซีเนี่ยร์คอมเพล็ก เพื่อสมาชิก สหกรณ์ ฯข้าราชการและประชาชนทั่วไป) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์
3.จังหวัดนครปฐม จำนวน 350 หน่วย ตำบลท่าตำหนัก อำเภอ นครชัยศรี จังหวัด นครปฐม (มายโอโซนไทยเพิ่มสุข) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุน
4.จังหวัด ระนอง จำนวน 800 หน่วย ตำบล หงาว อำเภอ เมือง จังหวัด ระนอง (มายโอโซนไทยเพิ่มสุข) ) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด มาร่วมทุน
5.จังหวัด นนทบุรี จำนวน 800 หน่วย ตำบลบางแม่นาง , อำเภอ บางใหญ่ จังหวัด นนทบุรี (วิลเลคโอโซนไทยเพิ่มสุข) ) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุน
6.จังหวัด สระบุรี จำนวน 880 หน่วย อำเภอ แก่งคอย , อำเภอ หน้าพระลาน จังหวัด สระบุรี(มายโอโซนเพิ่มสุข ) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณ๊ เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุนในการจัดทำโครงการ ตามนะโยบายของรัฐบาล พรบ.การส่งเสริมการลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2562 และได้กำหนดแผนการพัฒนาดังต่อไปนี้
ระยะที่ 2 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ระยะที่ 3 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคเหนือ
ระยะที่ 4 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคกลาง
ระยะที่ 5 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 16 จังหวัด ภาคใต้
ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์มากด้วยประสบการณ์ ดำเนินการพัฒนาโครงการเพื่อผู้สูงวัยพร้อมให้การบริการเป็นอย่างดีและทั่วถึงในการให้บริการ
ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี (ดร. สมัย )
ประธานโครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน
แผนงานการก่อสร้าง แบ่งเป็น 5 ระยะ
ระยะที่ 1 แผนงาน สร้างโมเดล โครงการ 6 จังหวัด ดังนี้
1.จังหวัดชลบุรี จำนวน 880 หน่วย ตำบล หินกอง อำเภอ เมือง จังหวัด ชลบุรี (โครงการซีเนี่ยร์คอทเพล็กซ์ประชารัฐ ภาคเอกชน เมืองชลบุรี ทะเลเพิ่มสุข ) บริหารงานการก่อสร้างโดย บริษัท เอเอที แอล กรุ๊ป จำกัด โดย ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี ประธานโครงการและกรรมการบริหารฯและกรรมการบริหารบริษัทฯ มายโอโซไทยเพิ่มสุข
2.จังหวัด เพชรบูรณ์ จำนวน 800 หน่วย อำเภอ หล่มสัก , อำเภอ หล่มเก่า , อำเภอ เขาค้อ จังหวัด เพชรบูรณ์ (ซีเนี่ยร์คอมเพล็ก เพื่อสมาชิก สหกรณ์ ฯข้าราชการและประชาชนทั่วไป) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์
3.จังหวัดนครปฐม จำนวน 350 หน่วย ตำบลท่าตำหนัก อำเภอ นครชัยศรี จังหวัด นครปฐม (มายโอโซนไทยเพิ่มสุข) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุน
4.จังหวัด ระนอง จำนวน 800 หน่วย ตำบล หงาว อำเภอ เมือง จังหวัด ระนอง (มายโอโซนไทยเพิ่มสุข) ) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด มาร่วมทุน
5.จังหวัด นนทบุรี จำนวน 800 หน่วย ตำบลบางแม่นาง , อำเภอ บางใหญ่ จังหวัด นนทบุรี (วิลเลคโอโซนไทยเพิ่มสุข) ) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุน
6.จังหวัด สระบุรี จำนวน 880 หน่วย อำเภอ แก่งคอย , อำเภอ หน้าพระลาน จังหวัด สระบุรี(มายโอโซนเพิ่มสุข ) ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณ๊ เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์คัดเลือกบริษัท มาร่วมทุนในการจัดทำโครงการ ตามนะโยบายของรัฐบาล พรบ.การส่งเสริมการลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2562 และได้กำหนดแผนการพัฒนาดังต่อไปนี้
ระยะที่ 2 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ระยะที่ 3 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคเหนือ
ระยะที่ 4 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคกลาง
ระยะที่ 5 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 16 จังหวัด ภาคใต้
ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์มากด้วยประสบการณ์ ดำเนินการพัฒนาโครงการเพื่อผู้สูงวัยพร้อมให้การบริการเป็นอย่างดีและทั่วถึงในการให้บริการ
ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี (ดร. สมัย )
ประธานโครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น