วันศุกร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2564

โครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน โดย ดร.สมัย เหมมั่น ผู้บริหารบริษัทฯ เจ้าของโครงการ

โดย ดร.สมัย เหมมั่น ผู้บริหารบริษัทฯ เจ้าของโครงการและทีมคณะปรึกษาร่วมพลักดันและดำเนินการ โครงการ ซึ่ง
มี ท่านอธิบดี กรมกิจการผู้สูงอายุ ดร.สมคิด สมศรี ขณะนั้น ดำรงตำแหน่ง เป็นอธิบดีกรมฯร่วมดำเนินงาน
ตามนโยบายของรัฐบาล ยุค4.0 และการส่งเสริมการลงทุน ในโครงการที่รัฐบาลสนับสนุนเร่งด่วนในแผนพัฒนาประเทศฟาตแทค 14 ข้อๆ 14ของคณะรัฐบาล การส่งเสริมการลงทุนในกิจการของรัฐ ตามพระราชบัญญัติการให้เอกชนเข้าร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556
โครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ เมืองไทยเพิ่มสุข เพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
โครงการเพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ และข้าราชการบำนาญทุกหน่วยงานพร้อมด้วยประชาชนทั่วไป เป็นโครงการที่ประกอบด้วยโครงการประเภทบ้านเดี่ยว สำหรับผู้มีกำลังซื้อมาก และประเภท ลักษณะโครงการ ประชารัฐ มีดังนี้
1.โครงการที่ใช้พื้นที่ ของหน่วยงานของภาครัฐ โดยการ วิธีเสนอซื้อหรือการจัดเช่าที่ดิน ในการก่อสร้างโครงการ 2.โครงการที่ใช้พื้นที่ ของหน่วยงานภาค องค์กร มหาชน ต่างๆเช่น ชุมนุมสหกรณ์โดยการทำข้อตกลง ระหว่างกันและกัน เพื่อสมาชิกใน องค์กร นั้นๆ 3.โครงการที่ใช้พื้นที่ของเอกชน บริหารจัดการจัดจำหน่ายและการให้บริการในโครงการ แบบเอกชนเป็นผู้จัดทำให้บริการ 4.โครงการ ที่ร่วมมือระหว่างรัฐบาลกับหน่วยงาน ของรัฐบาล (มีแต่นโยบายยังไม่มีใครจัดทำ) 5.โครงการ ที่จัดทำโดย องค์กร มูลนิธิ จัดให้บริการเพื่อ สมาชิกและประชาชนผู้ยากไร้ทั่วไป
1.คอนโดมิเนียม แบบโลว์ไรส์สูงไม่เกิน 8 ชั้นสถานที่ก่อสร้างที่ตั้งโครงการ ในทุก 77 จังหวัด จำนวน 880 unit ต่อโครงการ จำหน่ายราคาเริ่มต้น 0.5 ล้าน ถึง 4.5 ล้าน จำนวนพื้นที่ห้อง 30 ตารางเมตรถึง 60 ตารางเมตร เริ่มต้นและบริการฟรีให้กับผู้ด้อยโอกาสที่ขาดการดูแลอีก 20% สุทธิและการบริการนิติบุคคลประกอบด้วย ศูนย์รักษาสุขภาพ และนันทนาการ 20 กิจกรรมให้บริการสำหรับผู้สูงวัย ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจำนวนมาก เนื่องด้วยบริษัทฯ เป็นผู้ประกอบกิจการในจังหวัดนครปฐม และได้เล็งเห็นว่ารัฐบาลกำลังผลักดันและดำเนินโครงการประชารัฐด้านต่าง ๆเป็นจำนวนมาก บริษัทฯจึงมีความประสงค์ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยเฉพาะด้านโดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงวัย ลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 880 unit บ้านเดี่ยวและคอนโดมิเนียม ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 1600 คน
บริหารการจัดการโดย ดร.สมัย เหมมั่น ผู้ได้รับนโยบายจากกระทรวงพัฒนาสังคมฯ กรมกิจการผู้สูงอายุ พร้อมคู่มือการบริการที่ทันสมัยและพร้อมให้บริการแบบมืออาชีพ ภาคเอกชนร่วมกันเปิดโครงการก่อสร้างบ้านเพื่อผู้สูงวัยหลังเกษียณของสมาชิกครูและข้าราชการบำนาญ
แผนงานการก่อสร้าง แบ่งเป็น 5 ระยะ ระยะที่ 1 แผนงาน สร้างโมเดลโครงการ 7 จังหวัด ดังนี้ 1.จังหวัด ชลบุรี จำนวน 880 หน่วย อำเภอ เมือง จังหวัด ชลบุรี (โครงการทะเลเพิ่มสุข) 2.จังหวัด เพชรบูรณ์ จำนวน 1200 หน่วย อ.หล่มสัก-อ.หล่มเก่า-อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ (มายโอโซนเพิ่มสุข) 3.จังหวัด นครราชสีมา จำนวน 880 หน่วย ต.วังไทร อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา (มายโอโซนเพิ่มสุข) 4.จังหวัด ราชบุรี จำนวน 880 อ.จอมบึง-สวนผึ้ง จ.ราชบุรี (มายโอโซนเพิ่มสุข) 5.จังหวัด นนทบุรี จำนวน 1200 หน่วย อ.บางใหญ่-อ.ไทรน้อย จ. นนทบุรี (วิลเลคโอโซนเพิ่มสุข) 6.จังหวัด สระบุรี จำนวน 880 หน่วย อ.แก่งคอย-อ.หน้าพระลาน จ.สระบุรี (มายโอโซนเพิ่มสุข) ระยะที่ 2 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะที่ 3 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคเหนือ ระยะที่ 4 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคกลาง ระยะที่ 5 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 16 จังหวัด ภาคใต้
ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์มากด้วยประสบการณ์ ดำเนินการพัฒนาโครงการเพื่อผู้สูงวัยพร้อมให้การบริการเป็นอย่างดีและทั่วถึงในการให้บริการ ดร.สมัย เหมมั่น ประธานโครงการ คณะบริหารโครงการ ดร. สมัย เหมมั่น ประธารบริหารโครงการ นาย วินิช ชัชวาลย์ ที่ปรึกษาโครงการด้านเทคนิค นาย ชัยวุฒิ แสงมณี ที่ปรึกษาโครงการด้านการเงิน นาย ชิตโชค สิงหรา ที่ปรึกษาโครงการด้านกฎหมาย สมาคมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หนองเสือ ที่ปรึกษาปรัชญา D – HOUSE GROUP กลุ่มนักวิจัยและแผนธุรกิจโครงการ บริษัท ไทยเพิ่มสุข จำกัด บริหารโครงการ บริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด บริหารการก่อสร้าง บริษัท ไทยซีเนียร์คอมเพล็กซ์ จำกัด บริหารงานก่อสร้าง บริษัท อุตสาหกรรมเมืองมหาชัยและอสังหาริมทรัพย์ จำกัด บริหารงานนิติบุคคล
“วิสัยทัศน์” มุ่งมั่นให้บริการอย่างมืออาชีพ ด้วยพนักงานคุณภาพ ผลงานมาตรฐาน เพื่อให้บริการแก่ผู้ยากไร้อย่างจิตอาสา ตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้า เสร็จตามเป้าหมาย ใช้เทคโนโลยีทันสมัยและก้าวหน้า มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
พันธกิจ “สร้างเพื่อความแข็งแกร่ง เรามุ่งมั่นพัฒนาสู่การเป็นสถาบันก่อสร้างที่แข็งแกร่ง” “สร้างเพื่อพันธมิตรทางธุรกิจ เรามุ่งมั่นเพื่อเป็นผู้รับเหมาหลัก ที่ผู้รับเหมารายย่อยและคู่ค้าเลือกด้วยความเชื่อมั่น และไว้วางใจยินดีพร้อมก้าวหน้าไปด้วยกัน” “สร้างงาน เรามุ่งมั่นสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เน้นประสิทธิภาพ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้พร้อมนำศักยภาพที่ดีที่สุดของตนเองมาใช้” “สร้างเพื่อสังคม เรามุ่งมั่นมอบผลตอบแทนที่คุ้มค่าที่สุดให้กับผู้ถือหุ้นด้วยการยึดหลักธรรมาภิบาลในการดำเนินธุรกิจ และสร้างสรรค์สังคมการเติบโตอย่างยั่งยืน” “สร้างเพื่อชุมชนและสังคม เรามุ่งมั่นเพื่อสนับสนุน และเสริมสร้างสิ่งที่ดีสู่ชุมชน และสังคมและความเท่าเทียมของสังคม ให้ได้รับการบริการที่ดี”
โครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ เมืองไทยเพิ่มสุข เพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
โครงการเพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ และข้าราชการบำนาญทุกหน่วยงานพร้อมด้วยประชาชนทั่วไป เป็นโครงการที่ประกอบด้วยโครงการประเภทบ้านเดี่ยว สำหรับผู้มีกำลังซื้อมาก และประเภทคอนโดมิเนียม แบบโลว์ไรส์สูงไม่เกิน 8 ชั้นสถานที่ก่อสร้างที่ตั้งโครงการ ในทุก 77 จังหวัด จำนวน 880 unit ต่อโครงการ จำหน่ายราคาเริ่มต้น 1.5 ล้าน ถึง 4.5 ล้าน จำนวนพื้นที่ห้อง 30 ตารางเมตรถึง 60 ตารางเมตร เริ่มต้นและบริการฟรีให้กับผู้ด้อยโอกาสที่ขาดการดูแลอีก 20% สุทธิและการบริการนิติบุคคลประกอบด้วย ศูนย์รักษาสุขภาพ และนันทนาการ 20 กิจกรรมให้บริการสำหรับผู้สูงวัย ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจำนวนมาก เนื่องด้วยบริษัทฯ เป็นผู้ประกอบกิจการในจังหวัดนครปฐม และได้เล็งเห็นว่ารัฐบาลกำลังผลักดันและดำเนินโครงการประชารัฐด้านต่าง ๆเป็นจำนวนมาก บริษัทฯจึงมีความประสงค์ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยเฉพาะด้านโดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงวัย
ลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 880 unit บ้านเดี่ยวและคอนโดมิเนียม ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 1600 คน บริหารการจัดการโดย ดร.สมัย เหมมั่น ผู้ได้รับนโยบายจากกระทรวงพัฒนาสังคมฯ กรมกิจการผู้สูงอายุ พร้อมคู่มือการบริการที่ทันสมัยและพร้อมให้บริการแบบมืออาชีพ ภาคเอกชนร่วมกันเปิดโครงการก่อสร้างบ้านเพื่อผู้สูงวัยหลังเกษียณของสมาชิกครูและข้าราชการบำนาญ แผนงานการก่อสร้าง แบ่งเป็น 5 ระยะ ระยะที่ 1 แผนงาน สร้างโมเดลโครงการ 7 จังหวัด ดังนี้ 1.จังหวัด ชลบุรี จำนวน 880 หน่วย อำเภอ เมือง จังหวัด ชลบุรี (โครงการทะเลเพิ่มสุข) 2.จังหวัด เพชรบูรณ์ จำนวน 1200 หน่วย อ.หล่มสัก-อ.หล่มเก่า-อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ (มายโอโซนเพิ่มสุข) 3.จังหวัด นครราชสีมา จำนวน 880 หน่วย ต.วังไทร อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา (มายโอโซนเพิ่มสุข) 4.จังหวัด ราชบุรี จำนวน 880 อ.จอมบึง-สวนผึ้ง จ.ราชบุรี (มายโอโซนเพิ่มสุข) 5.จังหวัด นนทบุรี จำนวน 1200 หน่วย อ.บางใหญ่-อ.ไทรน้อย จ. นนทบุรี (วิลเลคโอโซนเพิ่มสุข) 6.จังหวัด สระบุรี จำนวน 880 หน่วย อ.แก่งคอย-อ.หน้าพระลาน จ.สระบุรี (มายโอโซนเพิ่มสุข) ระยะที่ 2 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะที่ 3 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคเหนือ ระยะที่ 4 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคกลาง ระยะที่ 5 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 16 จังหวัด ภาคใต้ ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์มากด้วยประสบการณ์ ดำเนินการพัฒนาโครงการเพื่อผู้สูงวัยพร้อมให้การบริการเป็นอย่างดีและทั่วถึงในการให้บริการ ดร.สมัย เหมมั่น ประธานโครงการ
หลักการและเหตุผลของโครงการ เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหาภาค มีผลต่อการเขียนแผนธุรกิจ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ เมืองไทยเพิ่มสุข ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์กับภูมิศาสตร์เศรษฐกิจของแต่ละพื้นที่ในประเทศไทย ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการครองชีพของมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ การผลิต การใช้ และการกระจายของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยะกรรม การคมนาคมขนส่ง การค้าระหว่างประเทศ และการบริการแก่ประชาชนในดินแดนต่างๆของโลก โดยมีความสัมพันธ์กับเศรษฐศาสตร์ซึ่งเป็นวิชาที่ศึกษาถึงวิธีการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการต่าง ๆ สนองความต้องการของมนุษย์ซึ่งโดยทั่วไปมีความต้องการไม่จำกัดในด้านต่าง ๆ สรุปได้ดังนี้
1.ความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจประกอบด้วย 1.1 ลักษณะภูมิประเทศ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของแผ่นดิน ความสูงต่ำของผิวโลก ที่ราบลุ่มแม่น้ำ 1.2 ลักษณะภูมิอากาศ หมายถึง ลักษณะอากาศประจำถิ่นในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งมีอิทธิพลต่อปัจจัย 4 ของมนุษย์ 2. กิจกรรมทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก แบ่งเป็น 2.1 กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบเลี้ยงตนเอง (Subsistence Economic Activities) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เศรษฐกิจแบบยังชีพ (Subsistence Economy) หมายถึง ชีวิตความเป็นอยู่แบบง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อน 2.2 กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบการค้า หมายถึง สังคมที่สลับซับซ้อน เป็นลักษณะของประเทศส่วนใหญ่ในโลกรวมทั้งไทยในปัจจุบัน เศรษฐศาสตร์กับภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เศรษฐศาสตร์เป็นแขนงหนึ่งของสังคมศาสตร์ ซึ่งว่าด้วยกิจกรรมของมนุษย์ ความขาดแคลนทรัพยากรและปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (ผลิตอะไร อย่างไร เพื่อใคร) ที่เกิดขึ้นในสังคมทำให้แต่ละสังคมต้องหาวิธีการแก้ไขเศรษฐศาสตร์จึงเข้ามามีบทบาทในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาหนทางในการจัดสรรทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิต (ที่ดิน ทุน แรงงาน และการประกอบการ) ที่มีอยู่จำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด เศรษฐศาสตร์ (Economics) หมายถึง วิชาที่ศึกษาถึงวิธีการจัดสรรทรัพยากรอันมีอยู่จำกัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการต่างๆในการสนองความต้องการของมนุษย์ซึ่งมีไม่จำกัดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด คริสต์ศตวรรษที่ 18 การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์อย่างเป็นแบบแผนได้เริ่มขึ้น โดยผู้วางรากฐานและได้รับการยกย่องว่าเป็น ”บิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์” คือ อดัม สมิท นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ โดยหนังสือชื่อ ความมั่งคั่งของประชาชาติ (The Wealth of Nations) ที่เขียนขึ้นในปี ค.ศ.1776 (พ.ศ.2319) ถือเป็นตำราเศรษฐศาสตร์เล่มแรกและยิ่งใหญ่ที่สุดของโลกมาจนถึงยุคปัจจุบัน เศรษฐศาสตร์จุลภาค หมายถึง การศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในระดับหน่วย หรือระดับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือหน่วยงานการผลิตแต่ละกลุ่มหน่วยใดหน่วยหนึ่งหรือ เฉพาะบุคคล หรือหน่วยงานการผลิต ซึ่งแต่ละกลุ่มเกี่ยวกับส่วนย่อย ๆของระบบเศรษฐกิจ ซึ่งได้แก่ หน่วยครัวเรือน หน่วยธุรกิจ และ หน่วยรัฐบาล เศรษฐศาสตร์มหาภาค หมายถึง การศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของทั้งระบบโดยรวม ได้แก่ รายได้ประชาติ ภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด การออม การลงทุน การจ้างงาน และการบริโภค รวมถึงการคลัง การค้าระหว่างประเทศและดุลการชำระเงิน การพัฒนาเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์มหาภาค มีเนื้อหาส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับรายได้และการจ้างงาน ในอดีตจึงเรียกว่า ทฤษฎีรายได้และการจ้างงาน สรุป เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล แตกต่างจากเศรษฐศาสตร์มหาภาค ที่ศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจระดับประเทศและระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ของเศรษฐศาสตร์กับภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการครองชีพของมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ การผลิต การใช้ และ การกระจายของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยะกรรม การคมนาคมขนส่ง การค้าระหว่างประเทศ และการบริการแก่ประชาชนในดินแดนต่างๆของโลก โดยมีความสัมพันธ์กับเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเป็นวิชาที่ศึกษาถึงวิธีการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการต่างๆสนองความต้องการของมนุษย์ซึ่งโดยทั่วไปมีความต้องการไม่จำกัดในด้านต่างๆ สรุปได้ดังนี้
1. ความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ประกอบด้วย 1.1 ลักษณะภูมิประเทศ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของแผ่นดิน ความสูงต่ำของผิวโลก ที่ราบลุ่มแม่น้ำมีความอุดมสมบูรณ์จะเหมาะสมกับการตั้งถิ่นฐาน การคมนาคมขนส่งสะดวก แต่ไม่ปลอดภัยจากการรุกราน แต่ที่ราบสูง ภูเขา จะ แห้งแล้ง การคมนาคมขนส่งไม่สะดวก ไม่เหมาะกับการตั้งถิ่นฐาน แต่ปลอดภัยจากการรุกราน บริเวณที่ติดทะเลก็จะมีการประกอบอาชีพเกี่ยวกับทะเล เป็นต้น 1.2 ลักษณะภูมิอากาศ หมายถึง ลักษณะอากาศประจำถิ่นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งมีอิทธิพลต่อปัจจัย 4 ของมนุษย์ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค รวมทั้งการประกอบกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ในเขตต่างๆ ของโลก เช่น เขตร้อนส่วนใหญ่ปลูกข้าวเจ้า ใส่เสื้อผ้าบาง มีฝนตกชุก ซึ่งมักจะปลูกอาคารบ้านเรือนมีหลังคาชันเพื่อใต้ถุนสูง เพื่อให้น้ำฝนไหลสะดวกและไม่ขังบริเวณใต้ถุนบ้าน สำหรับกิจกรรมของประชากรส่วนใหญ่จะอาศัยลักษณะลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศเข้าช่วย เช่น การทำนาข้าว ส่วนมากจะทำในฤดูฝน ส่วนการทำนาเกลือ การก่อสร้าง การทาสี ก็จะทำกันในฤดูแล้ง และลักษณะภูมิอากาศยังมีผลต่อสุขภาพและพลังงานในตัวมนุษย์หลายประการ เช่น ประชาชนในเขตร้อนจะเหนื่อยง่าย หอบเร็ว ทำงานไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ มีสุขภาพไม่ค่อยแข็งแรง ต่างจากประชากรในเขตหนาวหรือ เขตอบอุ่นจะมีความขยัน อดทน กระตือรือร้นมากกว่า เป็นต้น 2. กิจกรรมทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆของโลก แบ่งเป็น 2.1 กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบเลี้ยงตนเอง (Subsistence Economic Activities) หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเศรษฐกิจแบบยังชีพ (Subsistence Economy) หมายถึง ชีวิตความเป็นอยู่แบบง่ายๆ ไม่สลับซับซ้อน เช่น การเก็บหาของป่า การล่าสัตว์ การจับปลา การเพาะปลูก เพื่อการบริโภคเอง ไม่ได้ผลิตเพื่อจำหน่าย ไม่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี เป็นลักษณะของชุมชนในอดีต หรือชนบทที่ห่างไกลความเจริญ 2.2 กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบการค้า หมายถึง สังคมที่สลับซับซ้อน เป็นลักษณะของประเทศส่วนใหญ่ในโลก รวมทั้งไทยในปัจจุบัน มนุษย์จะไม่ทำการผลิตสิ่งของที่ตนเองต้องการเองทุกอย่าง แต่จะแบ่งอาชีพกันทำตามความถนัด แล้วนำผลผลิตมาซื้อขายแลกเปลี่ยนกันโดยใช้เงินเป็นสื่อกลาง กิจกรรมทางเศรษฐกิจเพื่อการค้า เป็นการประกอบอาชีพเพื่อส่งออกจำหน่ายไปยังภูมิภาคต่างๆของโลก โดยอาศัยระบบการคมนาคมขนส่งให้สินค้าเข้าสู่ตลาดจะนำผลประโยชน์มาสู่สังคมที่เจริญ หรือระบบสังคมที่ซับซ้อน ตลอดจนทั้งเขตชุมชนและเมืองต่างๆทุกแห่งในโลกปัจจุบัน เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหาภาค มีผลต่อการเขียนแผนธุรกิจ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ ไทยเพิ่มสุข ปัจจุบันนักเศรษฐศาสตร์แยกการศึกษาเศรษฐศาสตร์ออกเป็น 2 สาขาใหญ่ๆ คือ 1.เศรษฐศาสตร์จุลภาค (microeconomics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกิจใดหน่วยเศรษฐกิจหนึ่ง เช่น การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคของผู้บริโภครายใดรายหนึ่งว่าจะมีการตัดสินใจในการเลือกบริโภคสินค้าและบริการอย่างไร จำนวนเท่าใด เพื่อให้บรรลุเป้าหมายความพอใจสูงสุดภายใต้ขีดจำกัดของรายได้จำนวนหนึ่ง พฤติกรรมของผู้ผลิตหรือผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่งว่าจะตัดสินใจเลือกผลิตสินค้าอะไร จำนวนเท่าใด ด้วย วิธีการอย่างไร และจะกำหนดราคาเท่าไร จึงจะได้กำไรสูงสุด ศึกษาพฤติกรรมการลงทุน การออมของ บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ศึกษากลไกตลาดและการใช้ระบบราคาเพื่อการจัดสรรสินค้า บริการ และทรัพยากร อื่นๆ จะเห็นได้ว่าเศรษฐศาสตร์จุลภาคส่วนใหญ่จะเป็นการศึกษาเรื่องที่เกี่ยวกับราคาในตลาดแบบต่างๆ นักเศรษฐศาสตร์บางท่านจึงเรียกวิชาเศรษฐศาสตร์อีกชื่อหนึ่งว่า ทฤษฎีราคา (Price Theory) 2.เศรษฐศาสตร์มหาภาค (macroeconomics) เป็นการศึกษาภาวะเศรษฐกิจโดยส่วนรวม ทั้งระบบเศรษฐกิจหรือทั้งประเทศ อันได้แก่ การผลิตของระบบเศรษฐกิจ การบริโภค การออม และการลงทุนรวมของประชาชน การจ้างงาน ภาวะการเงินและการคลังของประเทศ ฯลฯ เศรษฐศาสตร์มหาภาคโดยทั่วไปจะครอบคลุมหัวข้อต่างๆ เช่น รายได้ประชาชาติ วัฏจักรเศรษฐกิจ เงินเฟ้อและระดับราคา การคลังและหนี้สาธารณะ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ การเงินและสถาบันการเงิน และเศรษฐศาสตร์การพัฒนา ฯลฯ ความสัมพันธ์ของวิชาเศรษฐศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในด้านต่างๆ เช่น การเลือกการผลิต การบริโภค การดำรงชีพ และการปฏิบัติต่อบุคคลต่างๆที่อยู่ในสังคมเดียวกันหรือต่างกัน ดังนั้นเศรษฐศาสตร์จึงเป็นวิชาหนึ่งของสังคมศาสตร์ซึ่งเป็นการศึกษาปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในหมู่มนุษย์ที่มีผลมาจากการอยู่รวมกันในสังคมและมีการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน ซึ่งในการศึกษาและการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ตลอดจนการจัดระเบียบวิธีที่เกี่ยวกับมนุษย์จำเป็นที่วิชาเศรษฐศาสตร์ต้องไปเกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กับวิชาอื่นๆในสังคมศาสตร์ เช่น การบริหารธุรกิจ รัฐศาสตร์ จิตวิทยา ประวัติศาสตร์ นิติศาสตร์ และอื่น ๆ 1.เศรษฐศาสตร์กับการบริหารธุรกิจ มีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์นั้นส่วนหนึ่งจะเป็นการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้ผลิต เช่น การศึกษาทฤษฎีการผลิต ต้นทุนการผลิตและตลาด ฯลฯ จะเห็นได้ว่าแต่ละหัวข้อจะมีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ ดังนั้นกล่าวได้ว่าการบริหารธุรกิจส่วนหนึ่งเป็นการนำความรู้ทางเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์ เพื่อให้การดำเนินธุรกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ นั่นคือให้ได้รับกำไรสูงสุดและธุรกิจเจริญเติบโตก้าวหน้า 2.เศรษฐศาสตร์กับรัฐศาสตร์ มีความสัมพันธ์กันในแง่ที่ว่าแต่ละประเทศจะไม่สามารถพัฒนาเศรษฐกิจให้เจริญรุ่งเรืองได้หากประเทศไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง เนื่องจากนักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศไม่มีความมั่นใจจึงชะลอการลงทุนทำให้เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย ในทางกลับกันหากนักลงทุนมีความมั่นใจในสถานการณ์ทางการเมือง การลงทุนจะเพิ่มขึ้น ทำให้เศรษฐกิจเจริญเติบโต ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าปัญหาการเมืองกับปัญหาเศรษฐกิจเป็นปัญหาควบคู่กันไม่สามารถแยกจากกันได้ กล่าวคือ จะต้องพัฒนาไปพร้อม ๆ กันประเทศจึงจะมีการพัฒนาอย่างมั่นคงและมีเสถียรภาพ 3.เศรษฐศาสตร์กับนิติศาสตร์ มีความสัมพันธ์กันในลักษณะที่กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่ใช้ควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม และส่วนหนึ่งจะต้องเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ ดังนั้นหากนักกฎหมายมีความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ย่อมจะเป็นผลดีต่อการตราหรือออกใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจของประเทศ ในทำนองเดียวกัน เนื่องจากกฎหมายเป็นเครื่องมือสำคัญที่ใช้ในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นนักเศรษฐศาสตร์เองจำเป็นจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายด้วย ทั้งนี้เพื่อการใช้กฎหมายในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจจะได้เป็นไปตามที่มุ่งหวัง 4.เศรษฐศาสตร์กับประวัติศาสตร์ วิชาประวัติศาสตร์เป็นการศึกษาเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีต ซึ่งส่วนหนึ่งสามารถใช้เป็นบทเรียนหรือเป็นแนวทางในการวางแผนพัฒนาและแก้ปัญหาเศรษฐกิจ อย่างน้อยที่สุดประวัติศาสตร์จะเป็นกระจกที่สะท้อนให้เห็นถึงลำดับของเหตุการณ์ในอดีตที่เกิดขึ้น ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์จึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญต่อทุกสาขาวิชา รวมทั้งวิชาเศรษฐศาสตร์ด้วย ดังจะเห็นได้จากปัจจุบันได้มีการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของการเรียนการสอนทางด้านเศรษฐศาสตร์ในระดับมหาวิทยาลัย 5.เศรษฐศาสตร์กับจิตวิทยา เนื่องจากวิชาเศรษฐศาสตร์เป็นเรื่องที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ ดังนั้นความรู้ในด้านจิตวิทยาจึงมีส่วนสำคัญต่อการเรียนรู้ทางเศรษฐศาสตร์ เพราะต่างก็ศึกษาเรื่องเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ เช่น การจะอธิบายปรากฏการณ์บางอย่างที่เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ เช่น การเลือกบริโภคสินค้าของผู้ซื้อ ถ้ามีความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาของมนุษย์ย่อมช่วยให้เข้าใจการกระทำบางอย่างของมนุษย์ได้ ในเวลาเดียวกันนักจิตวิทยาอาจนำความรู้ทางเศรษฐศาสตร์มาอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ได้ 6.เศรษฐศาสตร์กับคณิตศาสตร์และสถิติ สาขาหนึ่งของวิชาเศรษฐศาสตร์ที่ศึกษากันอยู่ในปัจจุบันคือการศึกษาเศรษฐศาสตร์เชิงปริมาณ ซึ่งเป็นวิชาที่ต้องอาศัยคณิตศาสตร์และสถิติเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปรทางเศรษฐกิจต่าง ๆ หรือเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรทางเศรษฐกิจเหล่านั้น
ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาถึงพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่น ๆ มากมายดังต่อไปนี้ 1. เศรษฐศาสตร์สัมพันธ์กับรัฐศาสตร์ การเมือง และกฎหมายอย่างใกล้ชิด ในสมัยก่อนเรียกวิชาเศรษฐศาสตร์ว่า “เศรษฐศาสตร์การเมือง” เพราะการค้าเป็นกิจกรรมต่าง ๆ มักถูกรัฐบาลเข้าแทรกแซงเสมอ แม้กระทั่งในปัจจุบันก็เช่นกัน และมีความสัมพันธ์กับกฎหมายในแง่ที่ว่าการออกกฎหมายบางเรื่องอาจเกิดขึ้นจากการพยายามที่จะแก้ปัญหาเศรษฐกิจ เช่น กฎหมายการค้ากำไรเกินควร กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายค่าแรงขั้นต่ำ เป็นต้น 2. เศรษฐศาสตร์มีความสัมพันธ์กับการบริหารธุรกิจอย่างมาก เพราะในการตัดสินใจของนักธุรกิจไม่ว่าจะเป็นการเลือกโครงการลงทุน การกำหนดปริมาณการผลิตและกำหนดราคาสินค้า จำเป็นต้องอาศัยหลักเกณฑ์ทางเศรษฐศาสตร์เข้าช่วยในการตัดสินใจ รวมทั้งต้องเข้าใจถึงระบบเศรษฐกิจ ภาวะเศรษฐกิจ ตลอดจนปัญหาเศรษฐกิจ เพราะจะมีผลกระทบต่อการลงทุนโดยตรง 3. เศรษฐศาสตร์มีความสัมพันธ์กับหลักจิตวิทยา เพราะพฤติกรรมของมนุษย์ในการตัดสินปัญหาเศรษฐกิจ ต้องคำนึงถึงหลักจิตวิทยาด้วย เช่น การตั้งราคาสินค้าให้ลงท้ายด้วย 9,199,299,399 เป็นต้น เพื่อทำให้ผู้บริโภครู้สึกว่าสินค้ามีราคาถูกโดยเฉพาะ เมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ง หรือการมีของแถมให้กับผู้บริโภคถ้าซื้อปริมาณมาก เป็นต้น 4. เศรษฐศาสตร์กับภูมิศาสตร์ การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ต้องเกี่ยวกับเรื่องทรัพยากร ดิน ฟ้า อากาศ ตลอดจนที่ตั้งของหน่วยเศรษฐกิจหรือประเทศต่าง ๆ ดังนั้นความรู้ทางภูมิศาสตร์จึงสามารถช่วยให้นักเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์เรื่องต่าง ๆ ได้ดียิ่งขึ้น เช่น การวิเคราะห์ปัญหาการค้าระหว่างประเทศ เป็นต้น และทรัพยากรธรรมชาติจะมีความเกี่ยวข้องกับความรู้ทางภูมิศาสตร์มาก 5. เศรษฐศาสตร์กับประวัติศาสตร์ การอาศัยเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์เป็นสิ่งช่วยอธิบายหรือคาดคะเนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรืออาจเกิดขึ้นในอนาคต เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์อาจเป็นสิ่งเตือนใจให้นักเศรษฐศาสตร์ระลึกว่า ถ้ามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นจะมีสิ่งใดเกิดตามมาเพื่อจะได้รับเหตุการณ์นั้นได้ดียิ่งขึ้น 6. เศรษฐศาสตร์กับนิติศาสตร์ การออกกฎหมายบางอย่างหรือโดยบางประเทศอาจมีส่วนจำกัดหรือเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินการทางเศรษฐกิจ เช่น กฎหมายสงวนอาชีพบางอย่าง หรือแม้แต่การตรากฎหมายภาษีอากร กฎหมายการค้า กฎหมายส่งเสริมการลงทุน การกำหนดอาณาเขตไมล์ทะเลระหว่างประเทศ เป็นต้น มีส่วนกระทบกระเทือนถึงการดำเนินการทางเศรษฐกิจของประเทศที่เกี่ยวข้องในทำนองเดียวกัน การจะออกกฎหมายอะไรอาจต้องคำนึงถึงสถานะทางเศรษฐกิจว่าเมื่อออกกฎหมายแล้วจะมีผลกระทบกระเทือนถึงประชาชนมากน้อยแค่ไหน 7. เศรษฐศาสตร์กับจริยศาสตร์ เนื่องจากศาสนามีอิทธิพลเหนือการกระทำของคนมานานแล้ว บทบัญญัติทุกศาสนาล้วนแต่สอนให้บุคคลมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มิให้เอารัดเอาเปรียบกัน สอนให้คนละเว้นความโลภ ถ้าจะมองในเชิงเศรษฐศาสตร์ หมายความว่า ศาสนาประณามการเอารัดเอาเปรียบกันในการค้าขาย เช่น การค้ากำไรเกินควร การปลอมแปลงสินค้าการให้กู้ยืมโดยเรียกดอกเบี้ยสูง ๆ เป็นต้น ซึ่งเป็นวิธีการทำนาบนหลังคนแบบหนึ่ง และเป็นผลเสียแก่เศรษฐกิจส่วนรวม ในปัจจุบันยังมีการนำความรู้ทางเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์เข้ากับศาสตร์อื่น ๆ อีกมากมาย เช่น ประยุกต์เข้ากับโครงการทางวิศวกรรม ซึ่งจะเรียกชื่อว่าเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม ประยุกต์เข้ากับโครงการอุตสาหกรรม เรียกชื่อว่าเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม ประยุกต์เข้ากับโครงการทางสาธารณสุขเรียกชื่อว่าเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข รวมทั้งประยุกต์เข้ากับโครงการทางแพทย์เรียกชื่อว่าเศรษฐศาสตร์การแพทย์ เป็นต้น กล่าวโดยสรุปได้ว่า วิชาเศรษฐศาสตร์มิใช่วิชาที่โดดเดี่ยว ผู้ที่ศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อนำมาผลิตสินค้าและบริการให้ได้มากที่สุด เพื่อนำมาตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีอยู่อย่างไม่จำกัด แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์มีมาช้านานแล้วตั้งแต่ศตวรรษที่ 13 โดยสอดแทรกอยู่ในความเชื่อถือและปรัชญา ต่อมาจึงได้พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ จนรู้จักกันอย่างแพร่หลาย เพราะเป็นหลักการที่นำมาใช้ในชีวิตประจำวันอยู่อย่างต่อเนื่องก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทั้งผู้บริโภค ผู้ผลิต และรัฐบาล
เศรษฐศาสตร์มี 2 แขนง ได้แก่ เศรษฐศาสตร์จุลภาค ซึ่งเป็นการศึกษาถึงระบบเศรษฐกิจส่วนย่อย ๆ แต่ละบุคคล เช่น การผลิต การจำหน่าย การซื้อขายแลกเปลี่ยนในแต่ละวัน และเศรษฐศาสตร์มหภาคซึ่งเป็นการศึกษาถึงระบบเศรษฐกิจส่วนรวมระดับประเทศ เช่น การศึกษารายได้ประชาชาติ คือศึกษาถึงรายได้ของประชาชนทั่วประเทศ หรือ ศึกษาถึงภาวะการลงทุน การว่างงาน ภาวะการเงินต่าง ๆ นอกจากนั้นเศรษฐศาสตร์ยังมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่น ๆ เช่น บริหารธุรกิจ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ จิตวิทยา ดังนั้น การศึกษาเศรษฐศาสตร์จึงทำให้เข้าใจถึงระบบเศรษฐกิจ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ปัจจัยการผลิตสินค้า เพื่อนำมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุด มีผลต่อการเขียนแผนธุรกิจ ซีเนียร์คอมเพล็กซ์ ไทยเพิ่มสุข จะบรรยายเพิ่มเติมในภายหลังเศรษฐศาสตร์กับบริหารธุรกิจ : บริหารธุรกิจเป็นวิชาที่มีความสัมพันธ์กับเศรษฐศาสตร์อยู่มาก ถึงแม้ว่าในภาคส่วนของบริหารธุรกิจจะมีเป้าหมายสูงสุดที่การผลิตเพื่อเสียต้นทุนต่ำที่สุดนำไปสู่การได้กำไรสูงสุด ซึ่งนักธุรกิจโดยส่วนใหญ่หากมีความเข้าใจในเศรษฐศาสตร์อย่างเป็นองค์รวมแล้วจะสามารถคาดการณ์แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจในอนาคตได้ว่าจะไปในทิศทางใด และนำไปสู่กำหนดเป้าหมายในการบริหารจัดการธุรกิจเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจ ส่วนในการกำหนดเป้าหมายนโยบายทางเศรษฐกิจย่อมมีผลเชื่อมโยงกับภาคส่วนของธุรกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น หากในส่วนของเมนูนโยบายทางเศรษฐกิจกับหน่วยธุรกิจมีการเชื่อมโยงสอดประสานเกื้อหนุนซึ่งกันและกันแล้ว ก็จะทำให้การขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อพึงสังเกต การบริหารเมนูนโยบายเศรษฐกิจและการบริหารธุรกิจ หลาย ๆ ท่านอาจคิดว่ามีความคล้ายและสามารถนำเอาหลักการการบริหารธุรกิจมาใช้กับการกำหนดและบริหารจัดการเมนูนโยบายทางเศรษฐกิจได้อย่างมีประสิทธิผล ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว ตรรกะในการบริหารนโยบายทางเศรษฐกิจและการบริหารธุรกิจ ก็มีเป้าหมายสูงสุดเพื่อให้เศรษฐกิจมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง และการเจริญเติบโตของธุรกิจ เพื่อให้บรรลุถึงการอยู่ดีกินดีของประชาชนและการอยู่ดีกินดีของเจ้าของธุรกิจ แต่ในทางปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุซึ่งเป้าหมายดังกล่าวของการบริหารเมนูนโยบายทางเศรษฐกิจและการบริหารธุรกิจนั้น ปรัชญาในการบริหารนโยบายเศรษฐกิจมัก จะทำตรงกันข้าม กับการบริหารธุรกิจอย่างสิ้นเชิง กรณีที่ ๑ ในภาวะเศรษฐกิจปกติ (เศรษฐกิจขยายตัวอย่างต่อเนื่อง) พฤติกรรมส่วนใหญ่ของภาคเอกชนในภาวะเศรษฐกิจปกติ (เศรษฐกิจขยายตัวอย่างต่อเนื่อง) เนื่องจากว่า เป็นภาวะที่ภาคเอกชนต้องการฉกฉวยโอกาสในผลประโยชน์จากสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจเพื่อให้บรรลุซึ่งปรัชญากำไรสูงสุด โดยมีการลงทุนเพิ่มขึ้นในภาคธุรกิจ รวมทั้งมีการบริโภคเพิ่มขึ้นในภาคครัวเรือน ดังนั้น ภาครัฐจึงต้องคอยดูแลระบบเศรษฐกิจเพื่อไม่ให้เศรษฐกิจขยายตัวร้อนแรงเกินไป (overheating) โดยการดำเนินนโยบายผ่านกลไกทางด้านนโยบายการคลัง นโยบายการเงิน และนโยบายการเงินระหว่างประเทศ ในภาวะปกติการบริหารและจัดการนโยบายเศรษฐกิจ ผู้ที่มีอำนาจและหน้าที่ต้องตระหนักถึง พฤติกรรมของภาคเอกชน โดยส่วนใหญ่ก่อน เพราะภาครัฐมีหน้าที่หลักที่สำคัญในการที่จะบริหารจัดการระบบเศรษฐกิจ เพื่อให้ สังคมโดยส่วนรวมบรรลุถึงการเจริญเติบโตแบบยั่งยืน หรือการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ เพื่อลดทอนความเสี่ยงของการนำไปสู่ภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจ และการเจริญเติบโตที่ไม่สมเหตุสมผลกับภาวะพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (การเจริญเติบโตที่เกิดจากภาวะฟองสบู่) รวมทั้งการเจริญเติบโตที่เพิ่มอัตราเร่งให้เกิดช่องว่างระหว่างรายได้ทางสังคมที่สูงขึ้น ดังนั้นภาครัฐต้องตระหนักและเข้าใจพฤติกรรมรากเหง้าทางสังคมเศรษฐกิจของภาคเอกชนโดยส่วนใหญ่ในระบบเศรษฐกิจเสรีทุนนิยมก่อน เพื่อนำไปสู่การดำเนินเมนูนโยบายทางเศรษฐกิจเพื่อนำไปสู่จุดที่สังคมปรารถนาร่วมกัน คือ การเจริญเติบโตแบบยั่งยืนหรือการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ ในภาวะเศรษฐกิจปกติพฤติกรรมโดยส่วนใหญ่ในการบริโภคและการลงทุนของภาคเอกชนจะขยายตัวเป็นอย่างมาก ซึ่งภาวะดังกล่าวเป็นสิ่งที่ดีในระบบเศรษฐกิจ เนื่องจาก GDP ขยายตัวเพิ่มขึ้น แต่สิ่งที่ภาครัฐต้องต้องคำนึงถึงเป็นประเด็นสำคัญในการบริหารนโยบายเศรษฐกิจ ก็คือ การขยายตัวทางเศรษฐกิจดังกล่าวนั้น มีแนวโน้มนำไปสู่ภาวะฟองสบู่ โดยภาคเอกชนจะเพิ่มการลงทุนเพื่อขยายกิจการอย่างต่อเนื่อง กรณีที่ ๒ ภาวะเศรษฐกิจเจ็บป่วย : วิกฤติเศรษฐกิจ (เศรษฐกิจถดถอยและตกต่ำ) ในภาวะที่เศรษฐกิจชะลอตัวและตกต่ำนั้น พฤติกรรมโดยส่วนใหญ่ของภาคเอกชนจะลดการลงทุนและลดต้นทุนทุกอย่างที่สามารถจะลดได้เพื่อให้ธุรกิจของตนเองอยู่ได้ในภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ รวมทั้งภาคครัวเรือนก็จะลดการบริโภคลงมาด้วย ดังนั้น ภาครัฐต้องทำสิ่งดังกล่าวที่ขาดหายไปในระบบเศรษฐกิจแทนภาคเอกชนเพื่อที่จะทำให้เกิดการจ้างงาน โดยการดำเนินเมนูนโยบายที่เอื้อต่อการเพิ่มปริมาณเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจผ่านทางกลไกของนโยบายการเงิน นโยบายการคลัง และนโยบายการเงินระหว่างประเทศเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ในภาวะเกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจ การบริหารเมนูนโยบายเศรษฐกิจนั้นต้องมุ่งเน้นไปที่การกระตุ้นเศรษฐกิจเป็นสำคัญโดยการ เพิ่มปริมาณเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจก่อนโดยผ่านเครื่องมือและกลไกทางด้านนโยบายการเงิน นโยบายการคลัง และนโยบายการเงินระหว่างประเทศ และโดยส่วนใหญ่ในภาวะวิกฤตินี้ เมนูนโยบายการคลังในภาคส่วนของการใช้จ่ายภาครัฐ ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจากก่อให้เกิดผลรวดเร็ว เปรียบเสมือนคนป่วยใกล้จะตาย หมอต้องเลือกช่วยชีวิตคนป่วยก่อนเป็นอันดับแรก เช่น การปั้มหัวใจ ซึ่งก็เปรียบเสมือนการเพิ่มปริมาณเงินเข้าไปในระบบก่อนเป็นลำดับแรก เนื่องจากในภาวะดังกล่าว ภาคเอกชนจะลดการลงทุนและการบริโภคเพื่อลดความเสี่ยงทางธุรกิจ ภาครัฐจึงไม่ควรดำเนินเมนูนโยบายทางเศรษฐกิจอันก่อให้เกิดการหดตัวทางเศรษฐกิจ เฉกเช่นภาคเอกชน เพราะจะยิ่งทำให้เศรษฐกิจหดตัวรุนแรงไปอีก ภาครัฐจึงควรดำเนินนโยบายที่ไปเอื้อต่อการเพิ่มปริมาณเงินเข้าไปสู่ระบบเศรษฐกิจ อาจกล่าวได้ว่าแนวความคิดในการบริหารเมนูนโยบายเศรษฐกิจกับการบริหารธุรกิจมักจะ “ทำตรงกันข้าม” เมื่อเผชิญกับภาวะต่าง ๆ ในเศรษฐกิจ โครงสร้างระบบสาธารณะสุข และการเป็นลักษณะที่อยู่อาศัย การวางแผนการอยู่อาศัยในวัยสูงอายุหรือวัยหลังเกษียณ จากการทำงานที่ต้องวางแผนการอยู่อาศัยแบบจริงจังในการใช้ชีวิต
ในปี พ.ศ. 2562-64 เป็นปี่ที่ประเทศไทยและทั่วโลกได้รับผลกระทบเรื่องโรคระบาตร หรือการแพร่เชื่อ ของไวรัสโควิด-19 ที่มีผลกระทบเป็นอย่างมาก ผลคือ
1.ผู้สูงอายุได้รับผลจากการระบาทจากการแพร่เชื้อโรค ประเทศไทย ผู้สูงอายุป่วยเพราะผลการแพร่เชื้อ จำนวน 100,000 คน และเสียชีวิต จำนวน 200 ราย ของจำนวนผู้สูงอายุไทยที่ติดเชื้อ 2.ผู้สูงอายุทั่วโลก ติดเชื้อ จำนวน 108 ล้าน คน และเสียชีวิตจำนวน มากถึง 2.3 ล้านคน ดังสถิติดังนี้ สาเหตุที่ได้รับการติดเชื้อ ดังนี้ 1.ไม่มีภูมิป้องกันโรค 2.ไม่มีที่ อยู่อาศัยที่สามารถป้องกันเชื้อโรคได้ 3.ไม่ให้ความรู้และวิธีการป้องกันเบื้องต้นได้ 4.รัฐบาลแต่ละประเทศไม่มีงบประมาณในการป้องกัน 5.รัฐบาลไม่จำแนกคัดแยกคนที่ติดเชื่อ 6.รัฐบาลไม่มีที่อาศัยที่มีคุณภาพเพื่ออยู่อาศัยที่ดี 7.ผู้สูงอายุ ทุกคนไม่ได้วางแผนการอยู่อาศัยที่ดี ซึ่งเป็นหน้าที่ของคนทุกคนที่ต้องร่วมมือกันในการดำรงอยู่ในสังคมที่ดีต่อกัน
วิธีการป้องกัน ในกรณีดังกล่าว
โครงการซีเนียร์คอมเพล็กซ์เพื่อสมาชิก องค์กร และประชาชนผู้ยากไร้ตลอดจนข้าราชการ ทุกๆคน เพื่อวางแผนการใช้ชีวิตในวัยสูงอายุ ต้นเหตุของปัญหาจึงเกิดโครงการขึ้นมาเพื่อรองรับกับปัญหาต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตจนในวันนี้มันเกิดขึ้นมาแล้ว และอาจร้ายแรงกว่านี้จึงขอให้ทุกท่านทราบว่า เราควรป้องกันปัญหาที่จะเกิดและร่วมมือที่จะป้องกันปัญหาที่จะเกิดมาในวันต่อ ๆ ไป และคาดหวังว่าโครงการดังกล่าวจะได้การต้อนรับหรือตอบรับการสมาชิกเป็นอย่างดีตลอดไปและทั้งนี้ทางคณะบริหารทุกท่านมีความพร้อมที่จะให้บริการเป็นอย่างดี และมีคุณภาพ จึงจัดโครงการที่ดีมาไว้ให้สมาชิก ฯ ข่าวสารการติดเชื้อทั่วโลก ดังนี้
โครงการ Senior Complex ประชารัฐ (ท่าตำหนักโมเดล) - กรมกิจการผู้สูงอายุ http://www.dop.go.th › gallery Translate this page ... (นายบัญชา บัญชาดิฐ และนายวิญญา สิงห์อินทร์) กรรมการบริหารบริษัท ซี.เอส.บี. การ​ช่าง จำกัด (ดร.สมัย เหมมั่น กรรมบริหาร) เข้าร่วมประชุมดังกล่าว ณ ห้องประชุมชั้น ๑๐ อาคาร ๑ ธนาคาร .

1 ความคิดเห็น:

  1. โครงการ Senior Complex ประชารัฐ (ท่าตำหนักโมเดล) - กรมกิจการผู้สูงอายุ

    http://www.dop.go.th › gallery Translate this page ... (นายบัญชา บัญชาดิฐ และนายวิญญา สิงห์อินทร์) กรรมการบริหารบริษัท ซี.เอส.บี. การ​ช่าง จำกัด (ดร.สมัย เหมมั่น กรรมบริหาร) เข้าร่วมประชุมดังกล่าว ณ ห้องประชุมชั้น ๑๐ อาคาร ๑ ธนาคาร

    ตอบลบ