กรรมการบริหารใหญ่ D-HOUSE GROUP CHB International Holding Corporation สำนักงานใหญ่ ที่ นิคมอุตสาหกรรมบางชัน เขต มินบุรี กรุงเทพมหานคร เสนอโครงการ เพื่อผู้สูงวัยการวางแผนการออมทรัพย์หลังการเกษียณทำงาน เปิดโครงการใหม่ วันนี้
D-HOUSE GROUP CHB International Holding Corporation
D-HOUSE GROUP CHB International Holding Corporation
โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์
เขตลาดกระบัง จังหวัดกรุงเทพมหานคร
เพื่อสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูและข้าราชการไทย
พฤติกรรมผู้บริโภคมีส่วนในการตัดสินใจในการกระทำกิจกรรมทางการตลาด
รายงานจาก กรรมการบริหารใหญ่D-HOUSE GROUP CHB International Holding Corporation สำนักงานใหญ่
ที่ นิคมอุตสาหกรรมบางชัน เขต มินบุรี กรุงเทพมหานคร เสนอโครงการ
เพื่อผู้สูงวัยการวางแผนการออมทรัพย์หลังการเกษียณทำงาน เปิดโครงการใหม่
วันนี้
โครงการ
เพื่อผู้สูงอายุซีเนี่ยร์คอมเพล็ก จังหวัดกรุงเทพมหานคร มูลค่าโครงการ 2,500 ล้านบาท
สถานที่โครงการ ในการลงนาม โครงการตั้งที่ เขตลาดกระบัง จ.กรุงเทพมหานคร เนื้อที่โครงการ 16 ไร่เป็นอาคารชุด จำนวน 16 อาคาร จำนวน 1,248 ห้อง ร่วมกับบริษัท มาเดร่าโปรดักส์ จำกัด ร่วมทุนการก่อสร้าง โดยมอบให้ ดร.สมัย เหมมั่น กรรมการบริหาร จัดทำ โครงการดังกล่าวและแสดงความหมายอย่างกว้างถึงพฤติกรรมผู้บริโภคคือกระบวนการต่างๆ
ของตัวบุคคลที่ปฏิบัติต่อสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ภายนอกให้ความหมายของผู้ซื้อบ้านพร้อมบริการดูแลผู้สูงอายุ
คือบุคคลที่ไปทำการซื้อจริงในกระบวนการซื้อ ดังนั้น ผู้ซื้อก็คือบุคคลที่มีบทบาทเป็นผู้ซื้อสินค้า ปกติผู้ซื้อก็คือลูกค้า (Customer) ของธุรกิจนั่นเอง ได้
รับฟังท่านที่ปรึกษา ทางสังคมและเศรษฐกิจ
รับนโยบายกับท่านอธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุ
รับหลักการนำมาปฏิบัติในแนวคิดการให้บริการผู้สูงอายุที่ดีและแนวคิดของท่านให้นำมาใช้ พร้อมทั้งรับแนวคิดทางประสบการณ์ท่าน ดร.นิติภูม
นวรัตน์ ชื่อเดิม ท่านให้ฟังประสบการณ์ทำงานของท่านที่ผ่านมาหลายประเทศ ทำให้ผมเข้าใจว่า ประเทศไทยมีจุดเด่น
เป็นจุดที่น่าอยู่อาศัยมากที่สุดในโลก
ทั้งสังคมและวัฒนธรรมที่ให้ความสำคัญของผู้สูงอายุ วัฒนธรรม อาหารการกิน การอยู่อาศัยที่เรียบง่าย
เป็นที่น่าสนใจของคนต่างประเทศAEC และทั่วโลก
เป็นทางเลือกของชนชาติอื่น ทั้งกลุ่มยุโรปและรัสเซียและตะวันออกกลาง จีน ญี่ปุ่น
ฯลฯ เป็นอย่างยิ่ง อันนี้
น่าสนใจในการลงทุนอสังหาริมทรัพย์ โครงการบ้านพักตากอากาศและบ้านพักคนชรา
อีกประการผู้สูงอายุอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเมืองใหญ่ๆที่ประทับใจใน การดูแลของ กระทรวงพัฒนาสังคมฯ บ้านบางแคและบ้านสถานสงเคราะห์ ในการดูและของ กรมกิจการผู้สูงอายุ ที่ขึ้นทะเบียนรอรับบริการจาก กรมกิจการผู้สูงอายุ ที่กำลังจะถ่ายโอนกิจกรรม ออกมาให้หน่วยงานภาครัฐและเอกชนมานี้เพื่อให้ ผู้สูงอายุได้รับการบริการที่ดีๆและภาครัฐลดค่าใช้จ่ายทำให้ตอนนี้มีผู้สูงอายุที่รอการรับบริการ ที่มากถึง จำนวน 3500 คน ดร.สมัย เหมมั่น ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้รับนโยบายของภาครัฐ ตาโครงการประชารัฐ นโยบายของรัฐบาลกระทรวงพัฒนาสังคมฯจึงให้นำ แนวคิดและหลักการไปปฏิบัติ ในการดูแลผู้สูงอายุให้มีคุณภาพและบริการให้ครบทุกกิจกรรมในกิจกรรมผู้สูงอายุผมจึงนำแนวคิดดังกล่าวและการสนับสนุนแผนงานดังกล่าวมาปฏิบัติในการทำโครงการ
ซีเนี่ยร์คอมเพล็ก กรุงเทพมหานคร ประกอบการธุรกิจดูแลผู้สูงอายุ
ฉลองศรี พิมลสมพงศ์ ได้ให้ความหมายไว้ว่า การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค หมายถึง การศึกษาถึงความต้องการ ความจำเป็นของผู้บริโภคที่เป็นตลาดเป้าหมายเพื่อวางกลยุทธ์ทางการตลาด ให้ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคนั้นๆ และเพื่อให้ผู้บริโภคได้รับความพอใจสูงสุด
ความหมายที่ ดร.สมัย เหมมั่น กรรมการบริหาร กล่าวสรุปในที่นี้ก็คือ การกระทำหรือการแสดงออกของมนุษย์ที่ปรากฏออกเป็นการกระทำดังกล่าวนี้ จะมีกระบวนการของสิ่งของต่างๆที่เกี่ยวข้องกำกับอยู่จากภายในตัวบุคคลนั้นๆ เสมอ กล่าวคือ จะมีกลไกของการกำกับสั่งการจากความนึกคิดและความรู้สึกที่มีอยู่ภายในชีวิตประจำวันของมนุษย์ทุกคนการกระทำของแต่ละคนจะมีของตนตลอดเวลาจะมีสิ่งที่ยึดถือต่างๆ ภายในความคิดของตน (Frame of mind) อยู่เองและจะรับเอาเรื่องราวต่างๆ (sensation) จากภายนอกเข้ามาได้ตลอดเวลาอีกด้วย การตัดสินใจกระทำการต่างๆของเขาที่ปรากฏออกมาเป็นพฤติกรรมต่างๆ
ย่อมจะอยู่ภายใต้การกำกับของสิ่งเหล่านี้ทั้งสิ้น
ดังนั้น การศึกษาผู้ซื้อและพฤติกรรมผู้ซื้อ กรรมการบริหาร โครงการบ้านพักตากอากาศและบ้านพักคนชรา AEC จึงเป็นการศึกษาถึงลูกค้าของธุรกิจที่เป็นได้ทั้งผู้บริโภคและผู้ใช้ทางอุตสาหกรรมขึ้นอยู่กับว่าตลาดของธุรกิจเป็นตลาดประเภทใด เช่นผู้บริโภคบ้านเดี่ยวบ้านแฝดและทาวน์เฮาส์ บ้านพักตากอากาศ ในขนาดต่างๆ ลูกค้าหรือผู้ซื้อก็คือผู้บริโภคถ้าเป็นตลาดสินค้าอุตสาหกรรม หรือตลาดรัฐบาล หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากำไรลูกค้าหรือผู้ซื้อก็คือผู้ใช้ทางอุตสาหกรรมเป็นต้น ดังนั้นการศึกษาพฤติกรรมผู้ซื้อ (Buyer behavior) เป็นการศึกษาพฤติกรรม การซื้อสินค้าของลูกค้า
โครงการบ้านพักตากอากาศและบ้านพักคนชรา ของธุรกิจต่างๆไม่ว่าจะเป็นผู้บริโภค
หรือผู้เป็นนักลงทุนหวังกำไรจากการซื้อบ้านทาวน์เฮาส์ คอนโด พฤติกรรมผู้บริโภค (consumer behavior) ที่เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหรือการแสดงออกของมนุษย์เฉพาะในบางเรื่อง คือ เฉพาะเรื่องที่
การบริการทางการตลาดทั้งหลายนั้นย่อมถือได้ว่าเป็นเพียงส่วนหนึ่งของพฤติกรรมมนุษย์เท่านั้น พฤติกรรมผู้บริโภคจะมีความหมายเฉพาะกระบวนการของตัวบุคคลที่ตัดสินใจว่า จะซื้อบ้าน-ทาวน์เฮาส์ บ้านเดี่ยวที่แบบสวยงาม
มีให้เลือกหลายแบบ ที่น่าสนใจ บ้านพักตากอากาศ และเพื่อใช้เป็นบ้านพักคนชรา
หรือให้บริการอะไรหรือไม่ถ้าจะซื้อจะซื้อที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และจะซื้อจากใคร การตัดสินใจดังกล่าวจะประกอบด้วยจิตใต้สำนึกต่างๆทั้งทางกายและใจที่จำเป็นสำหรับทำการตัดสินใจ สาระสำคัญส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องราวของความเข้าใจ (perceives) ของแต่ละบุคคลที่มีอยู่ และการปฏิบัติหรือการกระทำต่อกันระหว่างตัวเขาเหล่านั้นกับสภาพแวดล้อม รวมตลอดทั้งกับองค์การธุรกิจทั้งหลาย
กล่าวโดยสรุปก็คือ การแสดงออกทางพฤติกรรมของมนุษย์โดยทั้งหมดนั้น พฤติกรรมหรือกิจกรรมที่แสดงออกในฐานะที่เป็นผู้บริโภคจะเป็นส่วนหนึ่งเท่านั้น พฤติกรรมผู้บริโภคจึงถือเป็นเพียงส่วนหนึ่งของพฤติกรรมมนุษย์และด้วยเหตุผลเดียวกันนี้ ต้องศึกษาพฤติกรรกผู้บริโภคจึงอาศัยพฤติกรรมศาสตร์เข้าช่วยศึกษาให้ความสำคัญเกี่ยวกับพฤติกรรมการเลือกซื้อ
บริการ ดูแลผู้สูงอายุ เลือกบ้านและทาวน์เฮาส์ ที่มีการศึกษาวิเคราะห์อย่างถี่ถ้วนเพราะเป็นเรื่องละเอียดอ่อน
ในการทำธุรกิจการจัดสรรที่ดินและพักอาศัยบ้านพักตากอากาศและบ้านพักคนชรา ในแต่ละตำแหน่งทำเล ที่ลูกค้ามีความต้องการที่เลือกบริโภคมีความสุข
คุ้มค่าต่อการลงทุน ต้อนรับการท่องเที่ยวระดับ อาเซียน AEC
1. ปฏิกิริยาของบุคคลซึ่งรวมถึงกิจกรรมต่างๆ เช่นการเดินทางไปและกลับจากร้านค้าการจ่ายของในร้านค้า การซื้อ
การขนสินค้า การใช้ประโยชน์และการประเมินค่าสินค้าและบริการที่มีจำหน่ายอยู่ในตลาด
2. บุคคลเกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้รับและการใช้สินค้าและบริการทางเศรษฐกิจ ซึ่งหมายถึง ผู้บริโภคคนสุดท้ายเรามุ่งที่ตัวบุคคลผู้ซื้อสินค้าและบริการเพื่อนำไปใช้บริโภคเองหรือเพื่อการบริโภคของหน่วยต่างๆ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันเช่นครอบครัว เราพิจารณาหน่วยบริโภคว่ารวมถึงแม่บ้านในฐานะที่เป็นตัวแทนซื้อของครอบครัว และบุคคลบางคนที่ซื้อของขวัญให้กับผู้อื่นด้วย อย่างไรก็ดีเราไม่พิจารณาถึงการที่บุคคลซื้อให้กับองค์การธุรกิจหรือสถาบันต่างๆ
3. รวมถึงกระบวนการต่างๆ ของการตัดสินใจซึ้งเกิดก่อน และเป็นตัวกำหนดปฏิกิริยาต่างๆ เหล่านี้ ซึ่งรวมถึงการตระหนักถึงความสำคัญของกิจกรรมการซื้อของผู้บริโภคที่กระทบโดยตรงต่อปฏิกิริยาทางการตลาด เช่น การติดต่อกับพนักงานขายกับสื่อโฆษณาและการเปิดทางเลือกต่างๆ และปฏิกิริยาต่างๆ เกี่ยวกับการตัดสินใจซื้อหลังจากการระบุและพิจารณาทางเลือกต่างๆ เป็นอย่างดีแล้ว สรุปในที่นี้ก็คือ พฤติกรรมผู้บริโภคเกี่ยวข้องกับการศึกษาถึงว่าบุคคลผู้บริโภค บริโภคอะไร ที่ไหน บ่อยแค่ไหน และภายใต้สถานการณ์อะไรบ้างที่สินค้า และบริการได้รับการบริโภค บริการดูแลผู้สูงอายุที่ดี บ้านทาวน์เฮาส์
บ้านเดี่ยวที่แบบสวยงาม มีให้เลือกหลายแบบ ที่น่าสนใจ บ้านพักตากอากาศ
4.การตัดสินใจรับบริการ ให้ดูแลผู้ป่วยหรือ พ่อและแม่
หรือผู้อนุบาลต่างๆนั้นจักต้องใช้ความละเอียดอ่อนในการตัดสินใจ
ผู้บริโภคจึงต้องร่วมกันตัดสินใจหลายคน จึงต้องใช้พฤติกรรมหมู่ ร่วม ในการตัดสินใจโครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์
จังหวัดกรุงเทพมหานคร โครงการบ้านพักตากอากาศและบ้านพักคนชรา มีกลยุทธ์ที่ดินในการให้บริการมีประสบการณ์ ในการให้บริการมาร่วม 20 ปีในการประกอบอาชีพ ดูและผู้สูงอายุในนาม บ้านทองทิพย์
และร่วมบริหารโครงการโครงการโครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็ก โครงการบ้านพักตากอากาศและบ้านพักคนชรา เขาค้อ นี้ด้วย ประกอบกับชื่อเสียงของ บ้านทองทิพย์ มีชื่อเสียง
ที่ดีจึงมีลูกค้า มากถึง 300 ชีวิตที่ฝากชีวิตไว้กับ
บ้านทองทิพย์ ให้ดูแลผู้สองอายุหรือผู้อนุบาล
ของตน และบอกต่อแนะนำลูกค้า ตลอดมา
การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคเป็นการศึกษา วิธีการที่แต่ละบุคคลกระทำการตัดสินใจใช้ทรัพยากร (เงิน เวลา บุคลากร และอื่นๆ) เกี่ยวกับการบริโภคสินค้า ซึ่งนักการตลาดต้องศึกษาว่าสินค้าที่เขาจะทำการเสนอขายนั้นใครคือลูกค้า (who) ผู้บริโภคซื้ออะไร (what) ทำไมจึงซื้อ (why) ซื้ออย่างไร (how) ซื้อเมื่อไร (when) ซื้อที่ไหน (Where) และซื้อบ่อยครั้งเพียงใด (how
ofter) รวมทั้งศึกษาว่าใครมีอิทธิพลต่อการซื้อ (who)
การรับรู้และภาพลักษณ์ของตราสินค้า และคนเรามักจะแสดงไปตามภาพลักษณ์ของตน หากมีความเชื่อบางอย่างเป็นสิ่งที่ผิดและเป็นการขัดขวางการซื้อ ผู้ผลิตจะต้องรณรงค์เพื่อแก้ไขหรือทำให้ความเชื่อเหล่านี้ถูกต้องคอยคำนึงถึงทัศนคติที่เป็นความรู้สึก
อารมณ์ และวิวัฒนาการด้านความชอบของคนเรามาเนิ่นนานแล้วนอกจากนี้การแสดงออกจึงมีความโน้มเอียงไปยังนิสัย
กระบวนการการคิดวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคที่มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อและการบริโภค เช่นการบริโภคก๋วยเตี๋ยวของวัยรุ่นเพื่อให้ทราบถึงคุณลักษณะความต้องการพฤติกรรมต่างๆ ของวัยรุ่น เพื่อให้ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติแนวทางปฏิบัติในการตอบสนองความพึงพอใจของผู้บริโภคเป็นเป้าหมายได้สูงสุด โดยใช้โมเดลพฤติกรรมผู้บริโภค (consumer behavior model) หรือ S-R theory ซึ่งเป็นทฤษฎีที่ศึกษาถึงเหตุจูงใจที่ทำให้เกิดการตัดสินใจซื้อโดยเริ่มจากการเกิดสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดความต้องการ สิ่งกระตุ้นผ่านเข้ามาในความรู้สึกสำนึกของผู้ซื้อ ซึ่งเปรียบเสมือนกล่องดำซึ่งประกอบธุรกิจไม่สามารถคาดคะเนได้ ความรู้สึกคิดนี้เองจะได้รับอิทธิพลในลักษณะต่างๆ และทำให้มีการตอบสนองของผู้ซื้อ ดังในภาพที่ 2.1 ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้ สิ่งกระตุ้น (stimulus) กล่องดำความรู้สึกคิดของผู้ซื้อ (buyers’black box)การตอบสนองของผู้ซื้อ (buyers’ response) ซึ่งสามารถอธิบายพอให้เข้าใจได้ดังนี้ คือ
กระบวนการการคิดวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคที่มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อและการบริโภค เช่นการบริโภคก๋วยเตี๋ยวของวัยรุ่นเพื่อให้ทราบถึงคุณลักษณะความต้องการพฤติกรรมต่างๆ ของวัยรุ่น เพื่อให้ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติแนวทางปฏิบัติในการตอบสนองความพึงพอใจของผู้บริโภคเป็นเป้าหมายได้สูงสุด โดยใช้โมเดลพฤติกรรมผู้บริโภค (consumer behavior model) หรือ S-R theory ซึ่งเป็นทฤษฎีที่ศึกษาถึงเหตุจูงใจที่ทำให้เกิดการตัดสินใจซื้อโดยเริ่มจากการเกิดสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดความต้องการ สิ่งกระตุ้นผ่านเข้ามาในความรู้สึกสำนึกของผู้ซื้อ ซึ่งเปรียบเสมือนกล่องดำซึ่งประกอบธุรกิจไม่สามารถคาดคะเนได้ ความรู้สึกคิดนี้เองจะได้รับอิทธิพลในลักษณะต่างๆ และทำให้มีการตอบสนองของผู้ซื้อ ดังในภาพที่ 2.1 ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้ สิ่งกระตุ้น (stimulus) กล่องดำความรู้สึกคิดของผู้ซื้อ (buyers’black box)การตอบสนองของผู้ซื้อ (buyers’ response) ซึ่งสามารถอธิบายพอให้เข้าใจได้ดังนี้ คือ
1 สิ่งกระตุ้น (stimulus) มีทั้งที่เกิดขึ้นเองในร่างกาย และสิ่งกระตุ้นจากภายนอกซึ่งจะทำให้ผู้บริโภคเกิดความต้องการผลิตภัณฑ์ สิ่งกระตุ้นถือว่าเป็นเหตุจูงใจให้เกิดการซื้อสินค้า ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วนคือ
1.1 สิ่งกระตุ้นทางการตลาด (marketing stimulus) เป็นสิ่งกระตุ้นที่นักการตลาดสามารถควบคุมจัดให้มีขึ้น เป็นสิ่งกระตุ้นที่เกี่ยวข้องกับส่วนประสมทางการตลาด (marketing mix) ซึ่งประกอบด้วย
1.1.1 สิ่งกระตุ้นด้านผลิตภัณฑ์ (product stimulus)
1.1.2 สิ่งกระตุ้นด้านราคา (price stimulus)
1.1.3 สิ่งกระตุ้นด้านการจัดช่องทางการจำหน่าย (place stimulus)
1.1.4 สิ่งกระตุ้นด้านการส่งเสริมการตลาด (promotion stimulus)
1.2 สิ่งกระตุ้นอื่น ๆ (other stimulus) เป็นสิ่งกระตุ้นความต้องการผู้บริโภคที่อยู่ภายนอกองค์การซึ่งไม่สามารถควบคุมได้ ได้แก่
1.2.1 สิ่งกระตุ้นทางเศรษฐกิจ (economic stimulus)
1.2.2 สิ่งกระตุ้นทางเทคโนโลยี (technological stimulus)
1.2.3 สิ่งกระตุ้นทางกฎหมายและการเมือง (law and political stimulus)
1.2.4 สิ่งกระตุ้นทางวัฒนธรรม (cultural stimulus)
2. กล่องดำความรู้สึกคิดของผู้ซื้อ (buyers’
black box) ความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อเปรียบเสมือนกล่องดำ ซึ่งผู้ผลิตหรือผู้ขายไม่สามารถทราบได้ จึงต้องพยายามค้นหาความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากลักษณะของผู้ซื้อ และกระบวนการตัดสินใจของผู้ซื้อ ซึ่งมีอิทธิพลจากปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ คือ
2.1 ปัจจัยด้านวัฒนธรรม (cultural factor)
2.2 ปัจจัยด้านสังคม (social factor)
2.3 ปัจจัยด้านจิตวิทยา (psychological factor)
ซึ่งปัจจัยดังกล่าวข้างต้น จะก่อให้เกิดขั้นตอนการตัดสินใจของผู้บริโภค
3. การตอบสนองของผู้ซื้อ (buyers’ response) ผู้บริโภคจะมีการตัดสินใจในประเด็นต่างๆ ดังนี้
3.1 การเลือกผลิตภัณฑ์ (product choice)
3.2 การเลือกตราสินค้า (brand choice)
และยังมีปัจจัยอีกคือ การเลือกผู้ขาย (dealer choice) การเลือกเวลาในการซื้อ (timing purchase choice) การเลือกปริมาณการซื้อ (amount purchase choice) ที่เป็นปัจจัยมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภคดึงที่ ดร.เสรีวงษ์ มณฑา ได้กล่าวถึงปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการตัดสินใจ คือ
(1) ลักษณะทางสรีระ เป็นปัจจัยเบื้องต้นในการกำหนดพฤติกรรมการซื้อ และ
พฤติกรรมการใช้ของผู้บริโภค มีบทบาทมากที่สุดในการตัดสินใจของมนุษย์ เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องจากเป็นความต้องการของร่างกายซึ่งมีส่วนใหญ่เป็นปัจจัยสี่ ซึ่งประกอบด้วย อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค
(2) สภาพจิตวิทยา เป็นความต้องการที่เกิดจากสภาพจิตใจ เป็นปัจจัยภายในที่มี
อิทธิพลต่อการตัดสินใจของมนุษย์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์โดยอาจมีลักษณะความต้องการในเรื่องเดียวกัน แต่สภาพจิตใจไม่เหมือนกัน
(3) ครอบครัว เป็นกลุ่มสังคมเบื้องต้นที่บุคคลเป็นสมาชิกอยู่ ครอบครัวเป็นแหล่งอบรม
และสร้างประสบการณ์ของบุคคล ถ่ายทอดนิสัย และค่านิยม ครอบครัวถือว่าเป็นหน่วยที่มีบทบาทในแง่ของการเตรียมตัวผู้บริโภคให้เข้าสู่สังคม
(4) สังคม
เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเราซึ่งจะมีผลที่เราต้องทำตัวให้สอดคล้องกับบรรทัดฐานของสังคมการที่ผู้บริโภคเป็นคนชั้นสูง
ชนชั้นกลาง หรือชนชั้นต่ำ ซึ่งแต่ละชนชั้นก็จะมีพฤติกรรมแตกต่างกัน
(5) วัฒนธรรม ไม่ว่าเราจะอยู่ชนชั้นใด
ในสังคมก็ตามมีวัฒนธรรมเป็นตัวครอบงำ วัฒนธรรม คือ วิถีชีวิตที่คนในสังคมยอมรับ
ประพฤติปฏิบัติตามกันเพื่อความงอกงามของสังคม
ซึ่งเป็นสิ่งดีสิ่งงามที่คนในสังคมยอมรับที่จะพฤติปฏิบัติร่วมกันเพื่อให้สังคมนั้นดำเนินไปได้ด้วยดี
เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น จึงกล่าวได้ว่า วัฒนธรรมไม่ใช้สิ่งที่ถาวร
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มีชีวิต สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่อาจจะใช้เวลานาน
เนื่องจากเป็นการยอมรับของสังคมที่กว้างขวาง และเป็นสิ่งที่ยอมรับกันมานานมาก มีความสุข คุ้มค่าต่อการลงทุน ต้อนรับการท่องเที่ยวระดับ อาเซียน AEC โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์
จังหวัดกรุงเทพมหานคร
ทำให้ผมเขาใจว่า
ประเทศไทย เป็นจุดที่น่าอยู่อาศัยมากที่สุดในโลก ทั้งสังคมและวัฒนธรรม อาหารการกิน
การอยู่อาศัยที่เรียบง่าย เป็นที่น่าสนใจของคนต่างประเทศเป็นทางเลือกของชนชาติอื่น
ทั้งกลุ่มยุโรปและรัสเซียและตะวันออกกลาง เป็นอย่างยิ่ง อันนี้ น่าสนใจในการลงทุนอสังหาริมทรัพย์ ใน อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ และ
การตัดสินใจใช้รับบริการ ให้ดูแลผู้ป่วยหรือ พ่อและแม่ หรือผู้อนุบาลต่างๆนั้นจักต้องใช้ความละเอียดอ่อนในการตัดสินใจ
ผู้บริโภคจึงต้องร่วมกันตัดสินใจหลายคน จึงต้องใช้พฤติกรรมหมู่ ร่วม ในการตัดสินใจโครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์
จังหวัดกรุงเทพมหานคร มีกลยุทธ์ที่ดีในการให้บริการและมีประสบการณ์
ในการให้บริการมาร่วม 20 ปีในการประกอบอาชีพ ดูและผู้สูงอายุในนาม บ้านทองทิพย์ และร่วมบริหารโครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์
จังหวัดกรุงเทพมหานคร นี้ด้วย ประกอบกับชื่อเสียงของ
บ้านทองทิพย์ มีชื่อเสียง ที่ดีจึงมีลูกค้า มากถึง 200 ชีวิตที่ฝากชีวิตไว้กับ บ้านทองทิพย์ ให้ดูแลผู้สองอายุหรือผู้อนุบาล
ของตน และบอกต่อแนะนำลูกค้า ตลอดมา
การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค (analyzing consumer
behavior) จึงเป็นการค้นหาหรือวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อและการใช้ของผู้บริโภค
เพื่อทราบถึงลักษณะความต้องการและพฤติกรรม การซื้อ และการใช้ของผู้บริโภค
เป็นการค้นหาคำตอบที่ได้จะช่วยให้ผู้ขายสินค้าสามารถจัดกลยุทธ์การตลาด (marketing
strategies) ที่สามารถสนองความพึงพอใจของผู้บริโภคได้อย่างเหมาะสม
โดยคำถามที่ใช้เพื่อค้นหาลักษณะพฤติกรรมผู้บริโภค คือ 6W และ 1H เพื่อค้นหาคำตอบ 7
O ซึ่งประกอบด้วย Occupants Object, Objectives,
Organization, Occasions, Outlets & Operation
D-HOUSE GROUP CHB International Holding Corporation
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น